Thursday, October 18, 2012

กูกิลโม มาร์โคนี


กูกิลโม มาร์โคนี

ประวัติ
กูกิลโม มาร์โนี เกิดเมือ่ปี 1874 ที่โบโลนา ในประเทศอิตาลี มีบิดาเป็นชาวอิตาเลียนและมารดาเป็นชาวไอริช เขาได้รับแรงดลใจจากการค้นพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ของคลาร์ค แม็กซ์เวลล์ และการทดลองการส่งกระแส ไฟฟ้าผ่านเส้นลวดของไฮริช เฮิร์ท นักวิทยาศาสตร์ชาว เยอรมันหลังจากการค้นพบของเฮิร์ทไม่นาน เด็กหนุ่ม ชาวอิตาลีชื่อ กูกิลโม มาร์โคนี ซึ่งศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย โบโลนา ในประเทศอิตาลีได้พบปะกับนักวิทยาศาสตร์คน หนึ่งซึ่งเคยทำงานกับเฮิร์ทในประเทศเยอรมีน งานของ เฮิร์ททำให้มาร์โคนีเกิดจินตนาการเขาได้สร้างเครื่องรับ ส่งวิทยุอย่างง่ายๆ ไว้ในห้อง 2 ห้องที่บ้านของบิดาและ ในไม่ช้าเขาก็สามารถส่งสั้ญญาณข้ามห้องจากห้องหนึ่ง ไปยังอีกหน้องหนึ่งได้ เขาพบว่าถ้าเขา สร้างเสาอากาศให้สูงขึ้น เขาจะสามารถส่งสัญญาณของเขาได้ไกลขึ้น ในปี ค.ศ.1895 เมื่อเขาอายุได้ 21 ปี เขาส่งสัญญาณไปไกลถึง 1.5 กิโลเมตร เขาเห็นความสำคัญของ การค้นพบนี้ การทดลองต่อต้องการทุนทรัพย์ แต่ไม่มีใครสนใจในเรื่องนี้นัก เมือ่เขา ไม่ได้รับการสนับสนึนในอิตาลีจึงเดินทางไปลอนดอนในปี 1896 และการไปรษณีย์ ของอังกฤษให้ความช่วยเหลือและด้วยการปรับปรุงวิธีการของเฮิร์ทในหลายๆ ด้านเขา เริ่มสามารถส่งสัญญาณไปไกล ๆ ขึ้นในปี ค.ศ 1899 เขาส่งสัญาณจากสถานีหนึ่ง บนฝั่งด้านใต้ไปยังสถานีในฝรั่งเศสซึ่งไกลออกไป50กิโลเมตรและที่ระย120 กิโลเมตร สำเร็จเจ้าของเรื่อเริ่มติดตั้งเครื่องมาร์โคนี ในเรือเดินทะเลของเขา หลายคนรู้สึก ประทับใจเมื่อเรือที่กำลังเดินทางในกู๊ดวินแซนด์ในทะเลเหนือได้รับการเตือนให้ทราบ ถึงภัยอันตรายด้วยคลื่อนวิทยุจากมาร์โคนี ทำให้เรือกับลูกเรือทุกคนปลอดภัย ในปี ค.ศ 1901 มาร์โคนี ส่งสัญญาณวิทยุได้ระยะทางไกลกว่า 2700 กิโลเมตร จากคอร์นวอลถึงนิวฟาวน์แลนด์ที่ทุกคนบอกว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะแม็กซ์เวลได้ แสดงให้เห็นว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเดินทางเป็นเส้นตรงเหมือนแสงแต่ระยะทาง นิวฟาวน์แลนด์ไม่ได้เป็นทางตรง เพราะโลกนี้โค้งทุกคนคิดว่าคลื่นวิทยุของเขา จะเดินเป็นเส้นตรงและหายไปในอากาศ แต่ปรากฏว่าคลื่นวิทยุที่รับได้ที่ นิวฟาวน์แลนด์นั้นชัดเจนซึ่งแม้แต่มาร์โคนีก็ไม่ทราบเหตุผล ในปัจจุบันี้เรา ทราบว่าสูงขึ้นไปจากระดับน้ำทะเลประมาณ 110 กิโลเมตร จะมีชั้นรอนุภาค ไฟฟ้าซึ่งเรียกกันว่าไดโอดนสเฟียร์และชั้นนี้จะเป็นตัวสะท้อนคลื่อนวิทยุกลับ มายังโลกเมื่อคลื่นไปกระทบถูกชั้นบรรยากาศ 20,000 เมตรถ้าส่งข่าวสาร ออก ณ ความยาวคลื่นหนี่งหรือความถี่หนึ่งเครื่องรับจะต้องปรับให้ตรงกับ ความยาวคลื่นเครื่องวิทยุของเราจึ่งมีหน้าปัทม์ที่มีตัวเลขหรือเครื่องหมาย บอกความยาวของคลื่น เพื่อให้เราสามารถเลื่อกโปรแกรมที่เราต้องการฟังได้ วิทยุคลื่นสั้นความถี่สูง เป็นส่งที่เหมาะกับรายการที่ถูกส่งมาจากระยะไกลๆ หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง มาร์โคนีทำการทดลองส่วนใหญ่เกี่ยวกับ สัญญาณคลื่นสั้นในระยะเวลาอันสั้นที่มาร์โคนีมีชีวิตอยู่วิทยุได้พัฒนามาจาก การค้นพบเของเฮิร์ทจนมีรายการทั้งการพูด ดนตรีถูกส่งไปทั้วโลกเมื่อเขา ถึงแก่กรรมในโรม เมื่อปี 1937 ได้มีการจัดงานกันอย่างเป็นทางการและศพ เขาได้ฝังในบ้านเกิดของเขาที่โบโลนา ประเทศอิตาลี
ผลงาน
-เป็นผู้ประดิษฐ์โทรเลขไร้สายเป็นคนแรกของโลก
-ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ.1909

ฟิสิกส์ 1(ภาคกลศาสตร์) 
ฟิสิกส์ 2  กลศาสตร์เวกเตอร์
โลหะวิทยาฟิสิกส์ เอกสารคำสอนฟิสิกส์ 1
ฟิสิกส์  2 (บรรยาย) แก้ปัญหาฟิสิกส์ด้วยภาษา c  
ฟิสิกส์พิศวง สอนฟิสิกส์ผ่านทางอินเตอร์เน็ต
ทดสอบออนไลน์ วีดีโอการเรียนการสอน
หน้าแรกในอดีต  
บทความพิเศษ  ตารางธาตุ(ไทย1)   2  (Eng)
พจนานุกรมฟิสิกส์ 
ธรรมชาติมหัศจรรย์ 
การทดลองมหัศจรรย์  ดาราศาสตร์ราชมงคล
แบบฝึกหัดโลหะวิทยา  
ความรู้รอบตัวทั่วไป 
ทดสอบ(เกมเศรษฐี) 
ข้อสอบเอนทรานซ์ เฉลยกลศาสตร์เวกเตอร์
คำศัพท์ประจำสัปดาห์  
การประดิษฐ์แของโลก ผู้ได้รับโนเบลสาขาฟิสิกส์
นักวิทยาศาสตร์เทศ นักวิทยาศาสตร์ไทย
ดาราศาสตร์พิศวง  การทำงานของอุปกรณ์ทางฟิสิกส์
การทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ  
  การเรียนการสอนฟิสิกส์ 1  ผ่านทางอินเตอร์เน็ต 
1. การวัด 2. เวกเตอร์
3.  การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4.  การเคลื่อนที่บนระนาบ
5.  กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกต์กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7.  งานและพลังงาน  8.  การดลและโมเมนตัม
9.  การหมุน   10.  สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยุ่น
13. กลศาสตร์ของไหล   14. ปริมาณความร้อน และ กลไกการถ่ายโอนความร้อน
15. กฎข้อที่หนึ่งและสองของเทอร์โมไดนามิก  16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
17.  คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง
   การเรียนการสอนฟิสิกส์ 2  ผ่านทางอินเตอร์เน็ต  
1. ไฟฟ้าสถิต 2.  สนามไฟฟ้า
3. ความกว้างของสายฟ้า  4.  ตัวเก็บประจุและการต่อตัวต้านทาน 
5. ศักย์ไฟฟ้า 6. กระแสไฟฟ้า 
7. สนามแม่เหล็ก  8.การเหนี่ยวนำ
9. ไฟฟ้ากระแสสลับ  10. ทรานซิสเตอร์ 
11. สนามแม่เหล็กไฟฟ้าและเสาอากาศ 
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตร์ควอนตัม
15. โครงสร้างของอะตอม 16. นิวเคลียร์ 
1. จลศาสตร์ ( kinematic)
3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปิลฮาร์โมนิก คลื่น และเสียง
5.  ของไหลกับความร้อน 6.ไฟฟ้าสถิตกับกระแสไฟฟ้า 
7. แม่เหล็กไฟฟ้า  8.    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากับแสง
9.  ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร์   
    

0 comments:

Post a Comment